แนะนำการทำ Circular Way โดยสาวผู้เปลี่ยนเปลือกกล้วยเป็นพลาสติก
เอลิฟ บิลกิน เด็กสาวตุรกีที่ชวนรักษ์โลก แบบง่าย ๆ ด้วยการเปลี่ยนเปลือกกล้วยเ ป็นพลาสติกชีวภาพ
.
เราเรียกการกระทำอะไรที่ง่า ย ๆ อีซี่ ๆ ว่า ง่ายเหมือนปอกกล้วยเข้าปาก ส่วนการเปลี่ยนเปลือกกล้วยบ ้าน ๆ ให้กลายเป็นพลาสติกชีวภาพ เราเรียกว่าเป็นอีกหนึ่งในว ิธีรักษ์โลกแบบง่าย ๆ ที่ เอลิฟ บิลกิน (Elif Bilgin) สาววัยรุ่นชาวตุรกี คิดค้นได้ตอนที่เธออายุ 16 ปี
.
ปัญหาขยะพลาสติกกำลังหนักข้ อขึ้นทุกวัน ตั้งแต่อุดตันท่อระบายน้ำทำให้น้ำท่วม เข้าไปอยู่ในท้องน้องมาเรีย ม ไปจนถึงอนุภาคพลาสติกขนาดเล ็ก ที่ตกมาพร้อมหิมะในอาร์กติก อันห่างไกล เรื่องนี้เลยกำลังกลายเป็นป ระเด็นสำคัญ ที่หลายคนต่างพยายามช่วยกัน หาทางแก้ไข ไม่ว่าจะเป็นการลดการใช้พลา สติก โดยเฉพาะวัสดุจากพลาสติกที่ ใช้ครั้งเดียวทิ้ง การหาวัสดุทดแทนพลาสติก หาวิธีรีไซเคิลและกำจัดขยะพ ลาสติกอย่างถูกวิธี
.
หนึ่งในวิธีแก้ปัญหาที่ต้นเ หตุคือ การคิดค้นพลาสติกชีวภาพ (bio-plastics) ที่ไม่เป็นอันตรายกับสิ่งแว ดล้อม ซึ่ง เอลิฟ บิลกิน นักเรียนสาวชาวตุรกี จากอิสตันบูล ได้ลองผิดลองถูกจนค้นพบวิธี เปลี่ยนเปลือกกล้วยที่ถูกทิ ้งให้กลายเป็นพลาสติกชีวภาพ ที่ดีต่อโลก จนไปชนะรางวัล “Inspired Idea Award” ในงาน Google Science และ “Science in Action Award” ในงาน Scientific American เมื่อปี 2013
.
เอลิฟ เกิดในปี 1997 ตอนเด็กเธอจัดว่าเป็นเด็กไฮ เปอร์สุด ๆ คนหนึ่ง มีความอยากรู้อยากเห็นทุกสิ ่งอย่างรอบตัว แม่ของสาวน้อยคนนี้เลยต้องซ ื้อหนังสือวิทยาศาสตร์มาให้ เธออ่าน ซึ่งเป็นวิธีที่ได้ผลเพราะเ อลิฟที่เริ่มหัดอ่านเขียนได ้ด้วยตัวเองตั้งแต่ตอนอายุเ พียง 4 ขวบนั้นชอบอ่านหนังสือเหล่า นี้มาก โดยเฉพาะเรื่องนักวิทยาศาสต ร์ผู้ที่คอยประดิษฐ์คิดค้นส ิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ให้กับโลกใบนี้
.
นั่นเป็นแรงบันดาลใจให้เธอฝ ันว่าอยากจะสร้างนวัตกรรมที ่เปลี่ยนแปลงโลก ซึ่งสิ่งประดิษฐ์ชิ้นแรกของ เธอคือ แว่นตาติดที่ปัดน้ำฝนเล็ก ๆ เพื่อแก้ปัญหาเวลาสวมเว่นตา เดินตากฝน ที่เป็นปัญหาที่เธอพบในชีวิ ตประจำวันเพราะเป็นคนไม่ชอบ ใส่คอนแทคเลนส์ แน่นอนว่าเจ้าแว่นตาอันนี้อ าจดูกิ๊กก๊อกประหลาดเหมือนข องเล่นเด็กอยู่หน่อย ๆ นั่นไม่แปลกเพราะตอนที่สร้า งมันขึ้นมานั้นเธอมีอายุแค่ 8 ขวบเท่านั้นเอง
.
เมื่อโตขึ้นโครงงานวิทยาศาส ตร์ของหนูเอลิฟ ซึ่งมีไอดอลคือ มารี กูว์รี นักวิทยาศาสตร์หญิงชาวโปแลน ด์ ผู้คิดค้นรังสีเรเดียม และได้รางวัลโนเบลถึงสองครั ้งในสาขาฟิสิกส์ กับสาขาเคมี ก็เริ่มอลังการขึ้นเรื่อย ๆ ตั้งแต่การออกแบบรถยนต์พลัง งานลม ไปจนถึงการทำฟาร์มไร้ดิน
.
กระทั่งตอนเอลิฟอายุได้ 14 ปี ขณะที่ยืนมองน้ำทะเลที่ไหลผ ่านช่องแคบบอสฟอรัส (Bosporus Strait) ที่กั้นระหว่างทวีปเอเชียแล ะยุโรป ความสวยงามของจุดเชื่อมแผ่น ดินสองทวีปในสายตาเธอ ถูกทำลายลงด้วยถุงพลาสติกจำ นวนมากที่ลอยมาพร้อมขยะทะเล อื่น ๆ เอลิฟเลยพยายามหาวิธีแก้ปัญ หานี้ในแบบของเธอ นั่นคือการคิดค้นพลาสติกชีว ภาพที่ไม่เป็นอันตรายกับสิ่ งแวดล้อม
.
“ตอนแรกหนูคิดว่าจะใช้มันฝร ั่งที่มีแป้งค่อนข้างเยอะ แต่พอคิดว่ามันฝรั่งใช้เป็น อาหารได้ไม่ควรเอามาทำเป็นพ ลาสติกชีวภาพ เลยมองหาวัตถุดิบจากเศษขยะ นั่นคือพวกเปลือกผลไม้ ซึ่งประกอบไปด้วยแป้งและเซล ลูโลสค่อนข้างมาก ในบรรดาเปลือกผลไม้ทั้งหมด เปลือกกล้วยน่าจะเข้าท่าที่ สุด หนูเลยเริ่มเลือกพัฒนาเปลือ กกล้วยตั้งแต่ตอนนั้น”
.
หลังความพยายามอยู่นาน 2 ปี เดินเข้าออกร้านขายผลไม้หลา ยรอบ กับการทดลองที่ล้มเหลวกว่า 12 ครั้ง สุดท้ายเอลิฟก็ได้ส่วนผสมที ่ลงตัวที่สุด ซึ่งเธอได้ส่งโครงงานนี้เข้ าประกวดในงาน Google Science ปี 2013 และคว้ารางวัลใหญ่พร้อมเงิน รางวัลกว่า 50,000 ดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 1,500,000 บาทจากงานครั้งนั้น
.
ความสำเร็จนี้เปิดทางให้เอล ิฟได้เดินสายไปทั่วโลกเพื่อ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู ้คนที่สนใจเรื่องสิ่งแวดล้อ มเช่นเดียวกับเธอ ทั้งในงาน Google Zeitgeist ปี 2013 ขึ้นพูดในเวที TEDx ที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย และ TEDx ที่ดิยาร์บาคีร์ ประเทศตุรกีบ้านเกิด เธอได้ไปเยี่ยมชมโครงการ CERN และมีโอกาสพบปะบุคคลมีชื่อเ สียงจากทั่วโลกทั้ง แลร์รี เพจ ผู้ก่อตั้ง Google, แซม พัลมิซาโน อดีตประธานและซีอีโอบริษัทไ อบีเอ็ม (IBM) และ เซอร์ ริชาร์ด แบรนสัน แห่งอาณาจักรเวอร์จิ้น ซึ่งชวนเธอไปฝึกงานเป็นนักพ ัฒนาซอฟต์แวร์ ที่ เวอร์จิ้น กาแลคติก ทำให้เธอได้มีโอกาสช่วยพัฒน าระบบเซนเซอร์ของที่นั่งผู้ โดยสารในยานอวกาศยูนิตี้
.
ปัจจุบันสาวเอลิฟยังคงไม่หย ุดความฝันที่จะเปลี่ยนแปลงโ ลก เธอกำลังศึกษาทั้งเรื่องวิศ วกรรมชีวเวช และ วิทยาการคอมพิวเตอร์ ไปพร้อม ๆ กัน ซึ่งพวกเราทุกคนสามารถที่จะ เปลี่ยนโลกได้เหมือนกับสาวน ้อยคนนี้ เริ่มต้นง่าย ๆ ด้วยการเปลี่ยนแปลงกระบวนกา รคิดที่มองว่าปัญหาสิ่งแวดล ้อมเป็นเรื่องไกลตัว หันมาให้ความสำคัญอย่างจริง จัง และจับมือร่วมกันแก้ไขปัญหา ตั้งแต่วินาทีนี้
.
“หนูได้รับคำเชิญจากผู้คนจา กทั่วมุมโลกที่อยากรู้รายละ เอียดเกี่ยวกับโครงการนี้เพ ิ่มเติม ซึ่งหนูคิดว่าตอนนี้ยังอยู่ ห่างไกลความสำเร็จอีกมาก แต่หนูชอบที่จะแลกเปลี่ยนคว ามคิดกับผู้คน ไม่ว่าจะเป็นผู้ใหญ่หรือแม้ แต่เด็กสิบขวบ เพราะหนูคิดว่าอายุไม่สามาร ถปิดกั้นศักยภาพและจินตนากา รที่ไร้ขอบเขตที่ซ่อนอยู่ใน ตัวเราได้”
.
เรื่อง : กิตยางกูร ผดุงกาญจน์
.
ที่มา :
https:// www.elif-bilgin.com/
https://www.youtube.com/ watch?v=4LGTBzmrysM
https://www.youtube.com/ watch?v=BMR-oMpCbjo
https:// www.thextraordinary.org/ elif-bilgin
.
เราเรียกการกระทำอะไรที่ง่า
.
ปัญหาขยะพลาสติกกำลังหนักข้
.
หนึ่งในวิธีแก้ปัญหาที่ต้นเ
.
เอลิฟ เกิดในปี 1997 ตอนเด็กเธอจัดว่าเป็นเด็กไฮ
.
นั่นเป็นแรงบันดาลใจให้เธอฝ
.
เมื่อโตขึ้นโครงงานวิทยาศาส
.
กระทั่งตอนเอลิฟอายุได้ 14 ปี ขณะที่ยืนมองน้ำทะเลที่ไหลผ
.
“ตอนแรกหนูคิดว่าจะใช้มันฝร
.
หลังความพยายามอยู่นาน 2 ปี เดินเข้าออกร้านขายผลไม้หลา
.
ความสำเร็จนี้เปิดทางให้เอล
.
ปัจจุบันสาวเอลิฟยังคงไม่หย
.
“หนูได้รับคำเชิญจากผู้คนจา
.
เรื่อง : กิตยางกูร ผดุงกาญจน์
.
ที่มา :
https://
https://www.youtube.com/
https://www.youtube.com/
https://